วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

มอลโดวา : คิชิเนฟ



มอลโดวา (มอลโดวา: Moldova) หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐมอลโดวา (มอลโดวา: Republica Moldova) เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลในภูมิภาคยุโรปตะวันออก ตั้งอยู่ระหว่างประเทศโรมาเนียทางทิศตะวันตก และประเทศยูเครนทางทิศตะวันออก มีพรมแดนกับโรมาเนียตามแม่น้ำพรุต (Prut River) และแม่น้ำดานูบ

มอลตา : วัลเลตตา


วัลเลตตา (
อังกฤษ: Valletta) เป็นเมืองหลวงของประเทศมอลตา หรือเรียกอย่างไม่เป็นทางการในภาษามอลตา
ว่า Il-Belt (แปลว่า เมือง) ตั้งอยู่ตอนตะวันตก-กลาง ของเกาะมอลตาและมีประชากรราว 6,315 คน[1]


เยอรมนี : เบอร์ลิน
 
 เบอร์ลิน  เป็นเมืองหลวงและรัฐหนึ่งในสิบหกรัฐสหพันธ์ของประเทศเยอรมนี มีประชากร 3.4 ล้านคนในเขตเมือง มากที่สุดในเยอรมนี และมากเป็นอันดับสองในสหภาพยุโรป เป็นศูนย์กลางของเขตนครหลวงเบอร์ลิน-บรานเดนบวร์ก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของเยอรมนี มีประชากรในเขตนครหลวงรวม 5 ล้านคนจาก 180 ชาติ มากเป็นอันดับเก้าในสหภาพยุโรป
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (ยูโกสลาเวียเดิม) : เบลเกรด


เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (อังกฤษ: Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง


รัสเซีย : มอสโก



กรุงมอสโก (อังกฤษ: Moscow; รัสเซีย: Москва́ อ่านว่า มัสกวา  เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย และยังเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วยในปี พ.ศ. 2550 มอสโกได้รับการจัดอันดับเมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก ตามมาด้วย ลอนดอน และ โซล

เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (ยูโกสลาเวียเดิม) : เบลเกรด

 
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (อังกฤษ: Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง


รัสเซีย : มอสโก


กรุงมอสโก (อังกฤษ: Moscow; รัสเซีย: Москва́ อ่านว่า มัสกวา  เป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย และยังเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วยในปี พ.ศ. 2550 มอสโกได้รับการจัดอันดับเมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก ตามมาด้วย ลอนดอน และ โซล

เนเธอร์แลนด์ : อัมสเตอร์ดัม


อัมสเตอร์ดัม (Amsterdam) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอัมสเทล (Amstel) เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเนเธอร์แลนด์ มีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 742,000 คน แต่ถ้านับรวมประชากรในเขตเมืองโดยรอบทั้งหมด จะมีประมาณ 1.5 ล้านคน (ข้อมูลปี 2005)อัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของทวีปยุโรป โดยเฉพาะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์
ถึงแม้อัมสเตอร์ดัมจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ แต่ศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาลนั้นอยู่ที่เฮก

นอร์เวย์ : ออสโล

ออสโล หรือ อูสลุ ตามสำเนียงนอร์เวย์ (อังกฤษ: Oslo) เป็นเมืองหลวงของประเทศนอร์เวย์
ออสโลมีประชากรประมาณ 811,688 (เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 2005) โดยประชากร 22% เป็นผู้อพยพมาจากประเทศใกล้เคียง เขตการปกครองออสโลมีพื้นที่ทั้งหมด 115 ตารางกิโลเมตร ซึ่ง 7 ตารางกิโลเมตรใช้ทำการเกษตร ปัจจุบัน (ค.ศ. 2006) ออสโลเป็นเมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก แทนที่โตเกียว


 
ออสโลตั้งอยู่ขอบด้านเหนือของอ่าวฟยอร์ด (fjord) ที่ชื่อ ออสโลฟยอร์ด ตัวเมืองประกอบด้วยเกาะ 40 เกาะ เกาะใหญ่ที่สุดชื่อ Malmøya นอกจากนี้ยังมีทะเลสาบ 343 แห่งซึ่งเป็นแหล่งน้ำจืดสำคัญ
 

ยูเครน สวีเดน ฟินแลนด์ เบลารุส

ยูเครน : เคียฟ


ยูเครน (อังกฤษ: Ukraine; ยูเครน: Україна, Ukrayina [ukraˈjina]) เป็นประเทศในภูมิภาคยุโรปตะวันออก มีอาณาเขตทางตะวันออกติดต่อกับประเทศรัสเซีย ทางเหนือติดต่อกับเบลารุส ทางตะวันตกติดต่อกับโปแลนด์ สโลวาเกีย และฮังการี ทางตะวันตกเฉียงใต้ติดต่อกับโรมาเนียและมอลโดวา ส่วนทางใต้จรดทะเลดำยูเครนก็เคยเป็นดินแดนของรัสเซีย


สวีเดน : สตอกโฮล์ม


สตอกโฮล์ม (Stockholm) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดของประเทศสวีเดน ตั้งอยู่ริมชายฝั่งทะเลทิศตะวันออกของประเทศสวีเดน มีประชากรในเขตเทศบาลสตอกโฮล์ม 774,000 คน ถ้านับเขตที่อยู่อาศัยโดยรอบทั้งหมดจะมีประชากรประมาณ 1.7 ล้านคน
สตอกโฮล์มเป็นที่ตั้งของรัฐบาลสวีเดน และที่ประทับของ
สมเด็จพระราชาธิบดีคาร์ลที่ 16 กุสตาฟ พระมหากษัตริย์องค์ปัจจุบันของสวีเดน

ฟินแลนด์ : เฮลซิงกิ



เฮลซิงกิ  ;ฟินแลนด์: Helsinki) ; สวีเดน: Helsingfors) เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศฟินแลนด์ ตั้งอยู่ทางใต้ของประเทศ ริมชายฝั่งอ่าวฟินแลนด์ ตัวเมืองมีประชากรประมาณ 560,000 คน เฮลซิงกิอยู่ติดกับเมืองวันตาและเอสโปซึ่งรวมตั้งเป็นเขตเมืองหลวงหรือมหานครเฮลซิงกิ มีประชากรเกือบหนึ่งล้านคน และถ้านับเขตที่อยู่อาศัยในปริมณฑลด้วยจะมีประชากรมากกว่า 1.2 ล้านคน
เฮลซิงฟอร์สเป็นชื่อเมืองดั้งเดิม และยังคงเป็นชื่อเมืองใน
ภาษาสวีเดนในปัจจุบัน ในอดีตเป็นชื่อที่ใช้ในระดับนานาชาติด้วย

 เบลารุส : มินสก์




มินสก์ (อังกฤษ: Minsk; เบลารุส: Мінск; รัสเซีย: Минск) เป็นเมืองหลวงและเมืองใหญ่ที่สุดในประเทศเบลารุส ตั้งอยู่ริมแม่น้ำสวิสลาช (Svislach) และแม่น้ำเนียมีฮา (Niamiha) ที่ความสูงจากระดับน้ำทะเล 280.4 เมตร กรุงมินสก์เป็นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของเครือรัฐเอกราช (CIS) ในที่เป็นฐานะเมืองหลวงของประเทศ ยังมีสถานะการบริหารพิเศษและยังเป็นศูนย์กลางการบริหารของจังหวัดมินสก์และเขตมินสก์อีกด้วย ในปี ค.ศ. 2006 กรุงมินสก์มีประชากรประมาณ 1,780,000 คน และมีนายมีคาอิล ปัฟลอฟ (Mikhail Pavlov) เป็นนายกเทศมนตรี

มอลโดวา มอลตา ออสเตรีย อันดอร์รา สาธารณรัฐเช็ก โครเอเชีย

มอลโดวา : คิชิเนฟ

ติรานา  เป็นเมืองหลวงและเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศแอลเบเนีย ติรานาก่อตั้งเมื่อปี
ค.ศ. 1614 โดยสุไลมาน ปาชา (Sulejman Pasha) เมืองติรานาเป็นเมืองหลวงของประเทศ
แอลเบเนียเมื่อปี ค.ศ. 1920เขตเมืองของติรานาตั้งอยู่ริมแม่น้ำอิเชม  ราว 20 ไมล์
(32 กิโลเมตร) และตั้งอยู่ที่ (41.33°N, 19.82°E) มีความสูงเฉลี่ยเหนือระดับน้ำทะเล 110 เมตร
และจุดสูงสุดวัดได้ที่ 1,828 เมตร ที่ Mali me Gropa
มอลตา : วัลเลตตา


วัลเลตตา  เป็นเมืองหลวงของประเทศมอลตา หรือเรียกอย่างไม่เป็นทางการ
ในภาษามอลตาว่า Il-Belt (แปลว่า เมือง) ตั้งอยู่ตอนตะวันตก-กลาง ของเกาะมอลตา
และมีประชากรราว 6,315 คนวัลเลตตามีอาคารสถาปัตยกรรมของศตวรรษที่ 16 ลงมา
สร้างในช่วงที่ปกครองโดยอัศวินเซนต์จอห์นแห่งเยรูซาเลม เมืองมีเอกลักษณ์พื้นฐานแบบสถาปัตยกรรมบาโรก กับองค์ประกอบของสถาปัตยกรรมฟื้นฟูศิลปวิทยา สถาปัตยกรรมฟื้น
ฟูคลาสสิก และสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ ในบางพื้นที่ และถึงแม้ว่าจะเกิดความเสียหายครั้ง
ใหญ่กับเมืองหลังสงครามโลกครั้งที่สอง แต่เมืองวัลเลตตาก็ได้รับประกาศอย่างเป็นทางการ
จากยูเนสโก เป็นมรดกโลกในปี 1980
ออสเตรีย : เวียนนา

ออสเตรีย  หรือชื่อทางการคือ สาธารณรัฐออสเตรีย เป็นประเทศที่ไม่มีทางออก
สู่ทะเลในยุโรปกลาง มีอาณาเขตทางเหนือจรดประเทศเยอรมนีและสาธารณรัฐเช็ก
ทางตะวันออกจรดสโลวาเกียและฮังการี ทางใต้จรดสโลวีเนียและอิตาลี และทางตะวันตก
จรดสวิตเซอร์แลนด์และลิกเตนสไตน์ มีการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีผู้แทนภายใต้
หลักการของรัฐสภา

อันดอร์รา : อันดอร์รา ลา เวลลา


อันดอร์ราลาเวลลา  เป็นเมืองหลวงของประเทศอันดอร์ราซึ่งตั้งอยู่บนเทือกเขาพิ
เรนีสระหว่างประเทศฝรั่งเศสกับประเทศสเปน อุตสาหกรรมหลักของเมืองคือด้านการ
ท่องเที่ยว ถึงแม้ว่าประเทศจะมีรายได้นำเข้าจากการเป็นแหล่งหลบภาษี นอกจากนั้น
ยังมีสินค้าพื้นเมืองอย่างเฟอร์นิเจอร์และบรั่นดี


สาธารณรัฐเช็ก : ปราก


 เป็นประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล อยู่ในภูมิภาคยุโรปกลาง
พรมแดนทางตอนเหนือจรดประเทศโปแลนด์ ทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงเหนือ
จรดเยอรมนี ทางใต้จรดออสเตรีย และทางตะวันออกจรดสโลวาเกียสาธารณรัฐเช็ก
ประกอบด้วยภูมิภาคที่เก่าแก่สองส่วน คือ โบฮีเมียและโมราเวีย และส่วนหนึ่งของภูมิ
ภาคที่สาม เรียกว่า ไซลีเชีย ประเทศนี้ได้เข้าเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปตั้งแต่วันที่ 1
พฤษภาคม พ.ศ. 2547เมืองหลวงของประเทศคือ ปราก เป็นเมืองที่มีประวัติศาสตร์ยาวนาน
เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญ และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศด้วย เมืองสำคัญอื่น ๆ
ของประเทศ ได้แก่ เบอร์โน (Brno) ออสตราวา (Ostrava) เปิลเซน (Plzeň) ฮราเดตส์กราลอเว
  เชสเกบุดเยยอวีตเซ (České Budějovice) และอูสตีนาดลาเบม (Ústí nad Labem)

โครเอเชีย : ซาเกร็บ


โครเอเชีย  หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐโครเอเชีย (อังกฤษ: Republic of Croatia; โครเอเชีย: Republika Hrvatska) เป็นประเทศรูปเสี้ยววงเดือนในยุโรปที่มีอาณาเขตจรดทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ยุโรปกลาง และบอลข่าน เมืองหลวงชื่อซาเกร็บ ในประวัติศาสตร์ปัจจุบัน โครเอเชียเคยเป็นสาธารณรัฐในยูโกสลาเวียเดิม แต่ได้รับเอกราชในพ.ศ. 2534 และได้สมัครเพื่อเป็นสมาชิกสหภาพยุโรปในอนาคต

เซอร์เบีย รัสเซีย เนเธอร์แลนด์ นอร์เวย์ เดนมาร์ก นครรัฐวาติกัน สวิตเซอร์แลนด์

เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (ยูโกสลาเวียเดิม) : เบลเกรด

 
เซอร์เบียและมอนเตเนโกร (อังกฤษ: Serbia and Montenegro, SCG) เป็นชื่อของอดีตสหพันธรัฐซึ่งเป็นการรวมอย่างหลวม ๆ ของเซอร์เบียและมอนเตเนโกร อดีตสาธารณรัฐของยูโกสลาเวีย ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 จนถึง พ.ศ. 2549 ตั้งอยู่บนคาบสมุทรบอลข่านตอนตะวันตกกลาง


รัสเซีย : มอสโก


กรุงมอสโก (อังกฤษ: Moscow; รัสเซีย: Москва́ อ่านว่า มัสกวาเป็นเมืองหลวงของประเทศรัสเซีย และยังเป็นศูนย์กลางทางการเมือง เศรษฐกิจ การเงิน การศึกษา และ การเดินทางของประเทศ โดยตั้งอยู่ใกล้แม่น้ำมัสกวา ซึ่งในตัวเมืองมีประชากรอยู่อาศัยกว่า 1 ใน 10 ของประเทศ ทำให้เป็นเมืองที่มีประชากรหนาแน่นที่สุดในยุโรป และเมื่อสมัยครั้งที่สหภาพโซเวียตยังไม่ล่มสลาย กรุงมอสโกก็ยังเป็นเมืองหลวงของสหภาพโซเวียตอีกด้วย
ในปี พ.ศ. 2550 มอสโกได้รับการจัดอันดับเมืองที่มี
ค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก ตามมาด้วย ลอนดอน และ โซล

เนเธอร์แลนด์ : อัมสเตอร์ดัม


อัมสเตอร์ดัม (Amsterdam) เป็นเมืองหลวงของประเทศเนเธอร์แลนด์ ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำอัมสเทล (Amstel) เริ่มก่อตั้งประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 12 ปัจจุบันเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของเนเธอร์แลนด์ มีประชากรในเขตตัวเมืองประมาณ 742,000 คน แต่ถ้านับรวมประชากรในเขตเมืองโดยรอบทั้งหมด จะมีประมาณ 1.5 ล้านคน (ข้อมูลปี 2005)
อัมสเตอร์ดัมเป็นเมืองศูนย์กลางทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญแห่งหนึ่งของ
ทวีปยุโรป โดยเฉพาะช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 17 ซึ่งเป็นช่วงยุคทองของเนเธอร์แลนด์
ถึงแม้อัมสเตอร์ดัมจะเป็นเมืองหลวงของประเทศ แต่ศูนย์กลางของหน่วยงานรัฐบาลนั้นอยู่ที่เฮก


นอร์เวย์ : ออสโล



 
ออสโล หรือ อูสลุ ตามสำเนียงนอร์เวย์ (อังกฤษ: Oslo) เป็นเมืองหลวงของประเทศนอร์เวย์
ออสโลมีประชากรประมาณ 811,688 (เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 2005) โดยประชากร 22% เป็นผู้อพยพมาจากประเทศใกล้เคียง เขตการปกครองออสโลมีพื้นที่ทั้งหมด 115 ตารางกิโลเมตร ซึ่ง 7 ตารางกิโลเมตรใช้ทำการเกษตร ปัจจุบัน (ค.ศ. 2006) ออสโลเป็นเมืองที่มีค่าครองชีพสูงที่สุดในโลก แทนที่โตเกียว


 
ออสโลตั้งอยู่ขอบด้านเหนือของอ่าวฟยอร์ด (fjord) ที่ชื่อ ออสโลฟยอร์ด ตัวเมืองประกอบด้วยเกาะ 40 เกาะ เกาะใหญ่ที่สุดชื่อ Malmøya นอกจากนี้ยังมีทะเลสาบ 343 แห่งซึ่งเป็นแหล่งน้ำจืดสำคัญ
 
 เดนมาร์ก : โคเปนเฮเกน



เดนมาร์ก (เดนมาร์ก: Danmark) หรือชื่อทางการคือ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก (เดนมาร์ก: Kongeriget Danmark) เป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิก มีแผ่นดินหลักตั้งอยู่บนคาบสมุทรจัตแลนด์ ทางทิศเหนือของประเทศเยอรมนี ซึ่งเป็นเพื่อนบ้านทางบกเพียงประเทศเดียว ทางทิศใต้ของประเทศนอร์เวย์ และตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศสวีเดน มีพรมแดนจรดทะเลเหนือและทะเลบอลติก เดนมาร์กมีดินแดนนอกชายฝั่งห่างไกลออกไปสองแห่ง คือหมู่เกาะแฟโรและกรีนแลนด์ ซึ่งแต่ละแห่งมีอำนาจปกครองตนเอง


นครรัฐวาติกัน : วาติกัน

นครรัฐวาติกัน (อังกฤษ: State of the Vatican City; อิตาลี: Stato della Città del Vaticano) เป็นนครรัฐที่ไม่มีทางออกสู่ทะเลซึ่งน้อยที่สุดในโลกทั้งในแง่พื้นที่และประชากร ตั้งอยู่ในกรุงโรม ประเทศอิตาลี เป็นที่ประทับของพระสันตะปาปา ซึ่งเป็นประมุขสูงสุดแห่งคริสตจักรโรมันคาทอลิก ศูนย์กลางคือมหาวิหารนักบุญเปโตร ซึ่งออกแบบโดยมีเกลันเจโล


สวิตเซอร์แลนด์ : เบิร์น


สวิตเซอร์แลนด์ (อังกฤษ: Switzerland; เยอรมัน: die Schweiz; ฝรั่งเศส: la Suisse; อิตาลี: Svizzera; โรมานช์: Svizra) มีชื่อทางการว่า สมาพันธรัฐสวิส (อังกฤษ: Swiss Confederation; ละติน: Confoederatio Helvetica) เป็นประเทศขนาดเล็กที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล และตั้งอยู่ในทวีปยุโรปตะวันตก โดยมีพรมแดนติดกับประเทศเยอรมนี ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอิตาลี ประเทศออสเตรีย และประเทศลิกเตนสไตน์ นอกจากจะมีความเป็นกลางทางการเมืองแล้ว สวิตเซอร์แลนด์นับว่ามีการร่วมมือกันระหว่างประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากเป็นที่ตั้งขององค์กรนานา


สโลวะเกีย : บราทิสลาวา


บราติสลาวา (Bratislava) คือเมืองหลวงของสาธารณรัฐสโลวาเกีย และเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดของประเทศ มีประชากรประมาณ 427,000 คน บราติสลาวาตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสโลวาเกียบน 2 ฝั่งของแม่น้ำดานูบ มีอาณาเขตติดกับประเทศออสเตรียและประเทศฮังการี จึงเป็นเมืองหลวงแห่งเดียวในโลกที่มีอาณาเขตติดต่อกับ 2 ประเทศ เมืองนี้และเวียนนายังเป็นเมืองหลวง 2 แห่งที่ตั้งอยู่ใกล้กันมากที่สุดในยุโรป โดยตั้งอยู่ห่างกันไม่ถึง 60 กิโลเมตร